อีสต์เทิร์น เอ็นเนอร์ยี่ จำหน่ายเครื่องมือวัดอุณภูมิ,ความชื้น,เครื่องวัดแสง,ความเร็วลม,วัดเสียง,วัดความเร็วรอบ,Lux meter,Sound meter,Anemometer,เครื่องวัดกรดด่าง,pH Meter,TDS Meter,EC Meter

������������������������������������������������ Chlorine

เครื่องวัดคลอรีน Chlorine

เครื่อง วัดคลอรีน Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนอิสระ Free Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนคงเหลือทั้งหมด Total Chlorine,เครื่องวัดคลอรีน Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนอิสระ Free Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนคงเหลือทั้งหมด Total Chlorine,เครื่องวัดคลอรีน Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนอิสระ Free Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนคงเหลือทั้งหมด Total Chlorine,เครื่องวัดคลอรีน Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนอิสระ Free Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนคงเหลือทั้งหมด Total Chlorine,เครื่องวัดคลอรีน Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนอิสระ Free Chlorine, เครื่องวัดค่าคลอรีนคงเหลือทั้งหมด Total Chlorine 
คลอรีน (Cl2 ) เป็นธาตุที่อยู่ในกลุ่มฮาโลเจน (กลุ่มO) ในตารางธาตุ มีลักษณะเป็นก๊าช สีเหลืองแกมเขียว มีกลิ่นฉุน ไม่พบในธรรมชาติ
ประวัติ ค.ศ. 77  Pliny  ชาวโรมันได้ทำการทดลองทางเคมีเพื่อแยกทองคำบริสุทธิ์ พบว่าเกิดจากสารไฮโดรเจนคลอไรด์  ( กรดเกลือซึ่งมีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ: HCI ) ค.ศ.720-810  Geber  นักเคมีชาวอาหรับพบว่าเมื่อให้ความร้อนแก่กรดกัดทอง ( HNO3 1ส่วน ผสมกับ  HCI  3 ส่วน) จะได้ก๊าซชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนแต่ไม่ทราบว่าเป็นก๊าซคลอรีน ค.ศ. 1774   Karl W.Scheele  นักเคมีชาวสวีเดน ได้รับเกียรติว่าเป็นคนแรกที่ค้นพบก๊าซคลอรีน โดยการเผาส่วนผสมของแมงกานีสไดออกไซค์  (MnO3  ) ) และกรด  HCI  ตามสมการ
MnO3 + 4Hci    →  MnCl2 + Cl2+2H2O
ค.ศ. 1814   Sir Humphry Davy ประกาศว่าก๊าซของ Scheele เป็นธาตุบริสุทธิ์ และให้ชื่อว่า chlorine ซึ่งมาจากภาษากรีก chloros ซึ่งมีความหมายว่า เหลืองแกมเขียว 
ค.ศ. 1830   Michsel Faraday ผลิตและแยกคลอรีนได้จากระบวนการไฟฟ้าเคมี Electrolytic Cell 
ค.ศ. 1900   การผลิตก๊าซคลอรีนในช่วงนี้ ใช้เซลไฟฟ้าระบบปรอท (Mercury Electrolytic Cell) และระบบได้อะแฟรม (Diaphragm Electrolytic Cell) 
ค.ศ. 1923   มีการนำก๊าซคลอรีนมาใช้ในระบบบำบัดน้ำเสียเป็นครั้งแรกที่มลรัฐเพนซิลวาเนียร์ 
ค.ศ. 1930   อุตสาหกรรม เคมีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ได้มีการนำคลอรีนมาใช้งานอย่างกว้างขวางนอกเหนือจากคุณประโยชน์ในด้านการฟอก สีและฆ่าเชื้อโรคในน้ำ                    

ปัจจุบัน คลอรีน ถูกนำมาใช้ประโยชน์มากมาย เช่น ใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตพลาสติก PVC (Polyvinyl Chloride) ใช้ผลิตน้ำยาทำความสะอาดเสื้อผ้า เป็นส่วนประกอบของเคมีกำจัดศัตรูพืชจำพวก ออร์กาโนคลอรีน สมบัติทางฟิสิกส์
  •  สภาพก๊าซ สีเขียวตองอ่อน สภาพของเหลว สีเหลืองอำพัน
  •  กลิ่นฉุนแสบจมูก
  •  จุดหลอมเหลว -101°C
  •  จุดเดือด -34.6°C
  •  เปลี่ยนสภาพจากของเหลวเป็นก๊าซปริมาตรเพิ่มขึ้น 460 เท่า
  •  หนักกว่าอากาศ 2.5 เท่า
  •  ละลายน้ำได้เล็กน้อย

อ่านเพิ่มเติม

ข้อมูลจาก : www.mwa.co.th


แสดง 1-12 จาก 22 รายการ